อืม ที่หายไปเกือบ 1 อาทิตย์ ก็ไปนั่งรวบรวมข้อมูล Attiny 2313 และทดลองเขียนโปรแกรม คร่าวๆก่อน ตอนนี้พอที่จะได้ โครงร่าง หัวข้อ ต่างๆ แล้วจ้า
- คำนำ
- อุปกรณ์สำหรับการเริ่มต้น
- resource, link, data sheet
- การติดตั้งโปรแกรม
- สายโปรแกรม ISP
- digital output
- delay
- digital input
- serial port
- interrupt
- timer
- watch dog
- i2c
- spi
- sleep mode
Interface
- LCD 1602
- LCD Nokia 3310
- LCD Nokia 6610
- RF Module
- Sensor
- DC Motor
- Stepping Motor
- touch screen
- USB
ส่วน 2 หัวข้อนี้อาจจะต้องเปลี่ยน ชิป
- analog output
- analog input
เล่าเรื่องการทำเว็บไซต์ด้วย Ruby on Rails จ้า พร้อมวิธีการปรับแต่ง Server จำพวก FreeBSD, debian จากประสบการณ์ในการทำงาน Admin
วันศุกร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2553
พับโครงการ Attiny2313 อย่างรวดเร็ว
ทั้งนี้เนื่องมาจาก ES ปรับขึ้นราคาชิป Microcontroller ATtiny2313 อย่างรุนแรง จาก 34 - 36 บาท เป็น 52.80 บาท โอ้ววววว ราคาปรับขึ้นกว่า 50% สำหรับ โปรเจคเล็กๆที่ ใช้ต้นทุนน้อยๆ นี่ถึงกับคิดหนักเลยทีเดียว ก็เป้นอันว่า โครงการที่คิดจะทำอุปกรณ์ขึ้นมาขายก็เป็นอันพับไปก่อน รอจนราคาชิปจะตกลงมา (อย่างกะหุ้นเลย) ส่วนเรื่อง บทความ tutorial ก็ถูกลดความสำคัญเช่นเดียวกัน
วันพุธที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2553
ถ้าชิป 1 ตัวสามารถทำงานแทนคนได้ 1 อย่าง
สมมุติว่า ชิป Microcontroller 8 bit ถูกๆ ที่มีขายตามบ้านหม้อ เมื่อเรียนรู้การใช้งานแล้วนำมาต่อเป็นวงจร เพื่อให้ทำงานเฉพาะอย่าง ที่เราต้องทำงานซ้ำๆ อย่างเช่น การเก็บค่า..... ทุกๆ 1 ชั่วโมง ถามว่า ถ้าต้องทำไปจนครับ 6 เดือน โออออ มนุษย์ที่ไหนจะทำได้แบบครบถ้วนละเนี่ย และเมื่อมนุษย์นั้นยากที่จะทำได้ก็ควรหาอย่างอื่นมาทำหน้าที่แทน จริงไหม
ุ
ตอนเรียน Microncontroller ก็ไม่ค่อยได้ทดลองอะไรมากมาย แถมอุปกรณ์ก็แพงมากซะด้วย มาตอนนี้พอนั่งนึกๆ ดูว่า งานเราก็งี่เง่า ทำอะไรซ้ำๆ ลองหาทางเปลี่ยนมาให้คอมพิวเตอร์ทำงานแทนเราไปเลยจะดีไหมนี่
นั่นเหละเป็นที่มาของการบ้าต่อวงจรรอบใหม่ของนัทจัง เอาเป็นว่า ผมขี้เกียจทำงาน เลยหาทางให้ อย่างอื่นทำแทน เช่น คอมพิวเตอร์ หรือ MCU
ุ
ตอนเรียน Microncontroller ก็ไม่ค่อยได้ทดลองอะไรมากมาย แถมอุปกรณ์ก็แพงมากซะด้วย มาตอนนี้พอนั่งนึกๆ ดูว่า งานเราก็งี่เง่า ทำอะไรซ้ำๆ ลองหาทางเปลี่ยนมาให้คอมพิวเตอร์ทำงานแทนเราไปเลยจะดีไหมนี่
นั่นเหละเป็นที่มาของการบ้าต่อวงจรรอบใหม่ของนัทจัง เอาเป็นว่า ผมขี้เกียจทำงาน เลยหาทางให้ อย่างอื่นทำแทน เช่น คอมพิวเตอร์ หรือ MCU
วันอาทิตย์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2553
เบื่อมากๆ กับ stringidaemon
หลังจากที่ลง PCBSD แล้วใช้ทำงานมากกว่า 2 สัปดาห์ ก็พบว่า จะมีบางช่วงที่อยู่ดีๆ ก็ CPU ขึ้นเป็น 100% พอตรวจสอบ process ก็พบว่า strigi ทำงาน และสร้าง daemon ขึ้นมาชื่อว่า stringidaemon ซึ่งพอไป google ดูก็พบว่าคนอื่นก็เจออาการนี้เหมือนๆกัน (คาดว่าเป็นที่KDE)
อย่าไปเอามันออกนะครับ ไม่แนะนำ สิ่งที่ควรจะทำก็คือ ไม่ต้องกำหนด directory ให้มันค้นหา โดยใช้คำสั่งนี้เพื่อ หาไฟล์คอนฟิก
$ ls -la
$ cd .strigi
$ vi daemon.conf
ลบ directory ออก แค่นี้เอง
อย่าไปเอามันออกนะครับ ไม่แนะนำ สิ่งที่ควรจะทำก็คือ ไม่ต้องกำหนด directory ให้มันค้นหา โดยใช้คำสั่งนี้เพื่อ หาไฟล์คอนฟิก
$ ls -la
$ cd .strigi
$ vi daemon.conf
ลบ directory ออก แค่นี้เอง
วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2553
AVR แบบง่ายๆ ด้วย ATtiny2313
สืบเนื่องมาจาก เรียนจบมาแล้วหลายปี มีงานทำก็พอจะมีเงินใช้บ้าง เลยเอาเงินไปซื้อของที่เคยอยากได้ เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IC มาต่ออะไรเรื่อยเปื่อย แก้เซ็งไปงั้นๆ และ อยากทำตัวให้เป็นประโยขน์ต่อสังคมบ้างก็เลย จะเขียนบทความการใช้งาน AVR (ตอนเรียน ผมไม่ได้เรียนตัวนี้นะ เรียนแค่ Z80 ตอนนั้นไม่ค่อยมีสตางค์ บอร์ด CPU ยังหารกะเพื่อนซื้อเลย)
โดยตัว AVR เลือกเป็น Attiny2313 เพราะถูกดีตัวละ 35 บาท (ถ้าเป็นต่างจังหวัดราคาน่าจะถึง 40 บาท) สาเหตุที่ไม่เลือก ATmega8 หรือ Arduino เพราะเขาทำเอกสารกันเยอะแล้ว แล้วมันก็ง่าย ไปหาๆอ่านเอาที่อื่นก็คงพอเป็นเองได้
โดยเนื้อหาจะเน้นไปที่ Concept พื้นฐาน ที่สามารถ ต่อวงจรได้ โดยไม่ต้องทำ PCB (ซึ่งอุปกรณ์ต้องหาซื้อได้ง่ายๆ) เพราะ อยากเน้นไปที่ น้องๆที่อยู่ต่างจังหวัดสามารถทำตามได้
โดยตัว AVR เลือกเป็น Attiny2313 เพราะถูกดีตัวละ 35 บาท (ถ้าเป็นต่างจังหวัดราคาน่าจะถึง 40 บาท) สาเหตุที่ไม่เลือก ATmega8 หรือ Arduino เพราะเขาทำเอกสารกันเยอะแล้ว แล้วมันก็ง่าย ไปหาๆอ่านเอาที่อื่นก็คงพอเป็นเองได้
โดยเนื้อหาจะเน้นไปที่ Concept พื้นฐาน ที่สามารถ ต่อวงจรได้ โดยไม่ต้องทำ PCB (ซึ่งอุปกรณ์ต้องหาซื้อได้ง่ายๆ) เพราะ อยากเน้นไปที่ น้องๆที่อยู่ต่างจังหวัดสามารถทำตามได้
วันอาทิตย์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2553
ใช้เวลายามดึก ต่อวงจรอิเล็กฯ
หลังจากที่ ซื้อ บอร์ดจาก ETT มาดองไว้หลายบอร์ด วันนี้ก็ได้ฤกษ์เอามาปัดฝุ่น ทดลองต่อบอร์ด AVR ทดลองโดยใช้ chip Attiny2313 เรียบร้อยแล้ว
ตามสูตร วันนี้ต่อ โปรแกรมลง MCU ได้แล้ว, วงจรไฟกระพริบได้แล้ว พรุ่งนี้ 5 ทุ่ม ค่อยมาเล่นต่อ (แบ่งเวลาเล่นวันละชั่วโมง พอหล่ะ เอาเวลาไปทำงานเยอะดีกว่า)
ตามสูตร วันนี้ต่อ โปรแกรมลง MCU ได้แล้ว, วงจรไฟกระพริบได้แล้ว พรุ่งนี้ 5 ทุ่ม ค่อยมาเล่นต่อ (แบ่งเวลาเล่นวันละชั่วโมง พอหล่ะ เอาเวลาไปทำงานเยอะดีกว่า)
วันเสาร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2553
อยู่กับ PCBSD มา 1 สัปดาห์
นั่งทำงานด้วย PCBSD มากว่า 1 สัปดาห์แล้ว ก็รู้สึกชินมากขึ้น ตอนนี้เริ่มปรับแต่งส่วนต่างๆ ให้ใช้งานได้ค่อยข้างลงตัวแล้ว
วันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2553
ทำงานด้วย Ruby Language
ตอนนี้ต้องเขียน script ในการทำงานบ่อยมากๆ เขียนด้วย ruby นี่ประหยัดเวลาสุดๆ (เลยมีเวลาเหลือมานั่งอัพ blog)
รอบนี้เยอะหน่อยเพราะต้อง migrate ระบบ ข้อมูลทั้งหมด หลายล้าน record แต่ใช้เวลาเขียนโปรแกรมไม่นาน
รอบนี้เยอะหน่อยเพราะต้อง migrate ระบบ ข้อมูลทั้งหมด หลายล้าน record แต่ใช้เวลาเขียนโปรแกรมไม่นาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)